การตลาดยุคใหม
การตลาดยุคใหม เปนปรัชญาหรือแนวความคิดที่นักการตลาดในปจจุบันใชเปนหลักยึดถือในการดําเนินงาน
ตามแนวความความคิดที่มุงเนนการพัฒนาและการสงมอบคุณคาที่เหนือกวาคูแขงขัน (Superior value) ใหกับ
ลูกคาเปนหลักสําคัญ (Kotler, 2000 : 34) กลาวไววา (Customer delivered value) คือ ความแตกตางระหวาง
คุณคาอันเปนประโยชนตอลูกคาทั้งหมด (Total customer value) ที่ลูกคาคาดวาจะไดรับจากสินคาหรือบริการ
อยางหนึ่งอยางใด กับ คาใชจายทั้งหมดที่ลูกคาตองเสียไป (Total customer cost) อันเกิดจากการประเมิน การไดรับ
การใช กับการกําจัดสินคาหรือบริการนั้น ดังสมการ...
>>> คุณคาที่เปนประโยชน - คาใชจายที่ตองเสียไป = คุณคาที่มอบใหกับลูกคา <<<
คุณคาที่เปนคุณประโยชน ที่ลูกคาคาดวาจะไดรับจากสินคาหรือบริการ ประกอบด้วย...
คุณค่าดานผลิตภัณฑ์ (product value) ซึ่งจะดูไดจาก ความนาเชื่อถือ (reliability) ความแข็งแรงทนทาน
(durability) ความสามารถในการใชปฏิบัติงาน (performance) และ การขายตอ (resale)
คุณคาทางดานการบริการ (service value) ซึ่งดูไดจาก การสงมอบตอ (delivery) การฝกฝนอบรม (training)
และการดูแลบํารุงรักษา (maintenance)
คุณคาดานความสามารถของบุคลากร (Personnel value) ซึ่งตรวจสอบไดจากความรู ความสามารถของ
บุคลากรของบริษัท ประสบการณ และความสามารถในการตอบคําถาม
คุณคาภาพลักษณ (image value) ซึ่งตรวจสอบไดจากภาพลักษณของบริษัท (Corporate image) ในสายตา
ของลูกคาสวนคาใชจายที่เสียไป หรือ ตนทุนของลูกคา
สําหรับสินคาหรือบริการ ประกอบดวย คาใชจายที่เปนตัวเงิน (monetary cost) คือ เงินที่ผูบริโภคตองจายไป
เพื่อซื้อสินคาหรือบริการ คาตนทุนการเสียเวลา (time or temporal cost) คือ เวลาที่ตองสูญเสียไปในการซื้อสินคา
และบริการ คาพลังงาน (energy cost) คือคาแรงกาย (physical energy) ที่ตองเสียไปในการออกไปซื้อหาสินคา
หรือบริการ คาจิตวิทยา (psychic or psychological cost) คือ พลังจิต (mental energy) หรือ ความเครียด
(stress) ที่ตองใชไปในการตัดสินใจซื้อสินคาที่สําคัญหรือราคาแพง หรือมีความเสี่ยงในการซื้อสูง
ดังนั้น การตลาดในยุคใหม จึงหันมามุงเนนที่การใหคุณคาแกลูกคา (value-driven) โดยนําการสรางอรรถ
ประโยชนของการตลาดที่หลากหลายรูปแบบมาประยุกตใชในการสรรคสรางสวนประสมทางการตลาดซึ่งเปนทิศ
ทางที่จะนําไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคของธุรกิจได
ดังนั้นปรัชญาหรือแนวความคิดนี้เปนการพัฒนาความกาวหนาทางการตลาดจนทําใหเกิดแนวความคิด
ทางการตลาดสมัยใหมที่มีความสมบูรณยิ่งขึ้น
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
ศิริวรรณ เสรีรัตน, ศุภร เสรีรัตน, ปริญ ลักษิตานนทและสุพีร ลิ่มไทย. . หลักการตลาด.
กรุงเทพมหานคร : ธีระฟลม และไซเท็กซ.2543.
Bovee,Courtland L., Michael J. Houston and John V. Thill. 1995. Marketing. 2th ed. New York : McGraw-hill, Inc.
Kotler,Philip. 2004. Marketing Management. Millennium ed. New Jersey : Prentice - Hall,Inc.